วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 9 

1. การเข้าหัว RJ-45

ลักษณะของสาย UTP
สาย UTP เป็นสายนำสัญญาณ ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์เน็ตเวอก์เข้าด้วยกัน ลักษณะทางกายภาพภายในสาย จะประกอบด้วยสายทองแดง 4 คู่ รวม 8 เส้น ดังนี้
*หมายเหตุ ฉนวนชั้นนอก อาจจะเป็นสีขาวหรือสีอื่นตามแต่ละผู้ผลิต
รูปสาย UTP
คู่ ขาวส้มส้ม
คู่ ขาวเขียวเขียว
คู่ ขาวน้ำเงินน้ำเงิน
คู่ ขาวน้ำตาลน้ำตาล

ลักษณะของ Connector RJ –45
จะเป็นหัวต่อที่มีลักษณะปิด คือ โครงสร้างภายนอกเป็นพลาสติกใส ฝังขั้วทองแดงภายใน 8 อัน เท่ากับจำนวนสาย( ถ้า เข้าหัวเสีย จะไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ )
การเข้าสาย UTP กับ Connector RJ – 45
    เมื่อตัดสายตามความยาวที่ต้องการแล้ว ให้ ปอกฉนวนภายนอกออก ประมาณ 2 – 2.5 cm ( !!! ระวังอย่าให้ไปโดนทองแดง )
  • จัดสายทองแดงตาม Color Code ดังนี้
  • การต่อสายแบบปกติ ( Direct )เช่น ต่อจาก อุปกรณ์ Active ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
    (จำกัดความยาวไม่เกิน 100 เมตร )
Computer
ลำดับสาย
Active Device
ขาวส้ม
1
ขาวส้ม
ส้ม
2
ส้ม
ขาวเขียว
3
ขาวเขียว
น้ำเงิน
4
น้ำเงิน
ขาวน้ำเงิน
5
ขาวน้ำเงิน
เขียว
6
เขียว
ขาวน้ำตาล
7
ขาวน้ำตาล
น้ำตาล
8
น้ำตาล
  • การต่อสายแบบสลับคู่สาย ( Cross ) เช่น จากคอมพิวเตอร์ไปคอมพิวเตอร์หรือ อุปกรณ์ Active กับ อุปกรณ์ Active ( จำกัดความยาวไม่เกิน 5 เมตร )
Computer 1
ลำดับสาย
Computer 2
ขาวส้ม
1
ขาวเขียว
ส้ม
2
เขียว
ขาวเขียว
3
ขาวส้ม
น้ำเงิน
4
น้ำเงิน
ขาวน้ำเงิน
5
ขาวน้ำเงิน
เขียว
6
ส้ม
ขาวน้ำตาล
7
ขาวน้ำตาล
น้ำตาล
8
น้ำตาล

*
สรุป คือ สายเส้นที่ 1 สลับกับ เส้นที่ 3
สายเส้นที่ 2 สลับกับ เส้นที่ 6

  • เมื่อเรียงสีของฉนวนตาม Color Code แล้ว ให้นำใส่เข้ากับหัวต่อ RJ – 45 ดังรูป
หัว RJ – 45 ให้หันด้านที่มี Lock ไปทางด้านหลัง และสายทองแดงพยายามตีเกลียว ให้มากที่สุด เท่าที่จะทำได้เพื่อเป็นการ ลด NOISE ดังรูป
 
    เมื่อจัดสายได้ถูกต้องและดูว่าสายทองแดงเข้าไปจนสุดแล้วให้ใช้ อุปกรณ์เข้าหัวหนีบที่หัว RJ–45ด้วยแรงพอประมาณ PIN ที่หัว RJ – 45 จะลงไปชนกับสายทองแดงโดยอัตโนมัติ 

2. การแชร์ข้อมูลในเครือข่ายด้วย Windows 7 

  1. อันดับแรกเราต้องทำการเปิดการแชร์ของ network ที่เราใช้อยู่เสียก่อนให้เข้าไปที่ control panel  -> Network and Internet -> Network and Sharing Center เมื่อกดเข้ามาแล้วจะพบกับหน้าต่างดังภาพ

  2. คลิ๊กเลือกไปที่ Change advanced sharing setting เพื่อเข้าสู่เมนูของการปรับแต่งค่าของ Network ซึ่งจุดนี้สำคัญเราต้องปรับค่าให้ตรงกับ Network ที่เราใช้อยู่ โดยทั่วไปจะมี Home , Work network และ Public ซึ่งถ้าเราใช้ Network ตัวไหนอยู่ก็ให้ทำการปรับค่าที่ Network นั้นซึ่งในตัวอย่างเป็น Network แบบ Public เมื่อกดเข้าไปเราหาเมนูดังภาพด้านล่าง
  3. ทำการเปิด Network discovery , File and printer sharing และ Public folder sharing โดยติ๊กเลือกที่ Turn on ดังภาพด้านบน จากนั้นเลื่อนลงมาด้านล่างสุดหาคำว่า Password protected sharing ทำการ Turn of ค่านี้ดังภาพด้านล่าง
  4. เมื่อทำการตั้งค่าเสร็จเรียบร้อยให้กด Save Change แล้วปิดหน้าต่างออกมาได้เลย จากนั้นมาเข้าสู่กระบวนการแชร์ไฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟโดยทำนำเมาส์ไปชี้ที่ไฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟที่ต้องการจะแชร์ คลิ๊กขวาเลือก properties เพื่อเรียกหน้าต่างสำหรับปรับแต่งค่าขึ้นมา จากนั้นเลือกไปที่หัวข้อ Sharing จากนั้นเลือกไปที่ Share คลิ๊กหนึ่งครั้ง
  5. เมื่อคลิ๊กที่คำสั่ง Share แล้วจะปรากฏหน้าต่างสำหรับกำหนดสิทธิ์ ตรงจุดนี้ไม่ต้องใส่ใจเลือกคลิ๊กไปที่ Share ที่อยู่ด้านล่างได้เลยดังภาพ
  6. เมื่อเสร็จสิ้นการแชร์แล้ว เราจำเป็นจะต้องกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์ โฟลด์เดอร์ หรือไดร์ฟที่เราได้ทำการแชร์เมื่อครู่นี้โดยเลือกไปที่หัวข้อ Security เพื่อทำการกำหนดสิทธิ์โดยเมื่อคลิ๊กเข้าไปก็จะพบกับหน้าต่างดังภาพด้านล่าง
  7. เลือกไปที่ Edit เพื่อเข้าสู่เมนูการเพิ่มสิทธิ์ จากนั้นเลือกไปที่ add
  8. พิมพ์คำว่า everyone ลงในช่อง Enter the object names to select จากนั้นกด Check Name หากพิมพ์ถูกต้องก็จะปรากฏคำว่า Everyone ขึ้นมาดังภาพด้านล่างจากนั้นกด OK
  9. เมื่อทำการเพิ่มชื่อแล้วให้กลับมาดูที่ช่องของการกำหนดสิทธิ์ในส่วนของ Group or user names ถ้ามี Everyone ปรากฎอยู่ก็เป็นอันเสร็จให้กด OK ออกมาได้เลยเท่านี้เครื่องเราก็จะสามารถทำการแชร์ไฟล์ได้ตามปกติแล้ว

 3. การแชร์เครื่องพิมพ์(printer) ใน Windows7

เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการแชร์ปริ้นเตอร์

แชร์เครื่องปริ้นเตอร์


เปิดระบบป้องกันการเ้ข้าใช้แบบสาธารณะ ถ้าไม่เปิดก็ได้แต่เครื่องที่ต้องการเข้ามาใช้ต้องล๊อกอินก่อนใช้เครื่องปริ้น
คลิกเลือก Turn off เพื่อปิดระบบล๊อกอิน
จากนั้นดูไอพีเครื่องที่แชร์ปริ้นเตอร์
เสร็จขั้นตอนการแชร์ที่เครื่องแม่

ขั้นตอนการเข้าใช้ปริ้นเตอร์ที่เครื่องลูก


กดปุ่ม Windows+r แล้วพิมพ์ตามขั้นตอนที่ 13

หรือจะเข้าแบบนี้ก็ได้แล้วเอนเทอร์

ดับเบิ้ลคลิกที่ปริ้นเตอร์ตามขั้นตอนที่ 14


การตั้งเครื่องปริ้นเตอร์เป็นเครื่องหลัก



 


 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น